งานบริการวิชาการและวิจัย

Research and Academic Services Division

committed to fostering innovative research and building research networks across the public and private sectors.

We aim to generate new knowledge and innovations to solve diverse national challenges while fostering in-depth research to support the agricultural and industrial sectors. Moreover, we provide research data, disseminate findings, and support library and museum activities to serve as learning resources for students, scholars, and the general public.

Press Release

Announcement of an Extramural Grant

The principle investigator and staff managing project finances and procurement for extramural grant funding can search project status and announcements of extramural grant funding via the information retrieval system using the principle investigator's name.

Activities

Follow every activity closely.

Annually in May and June, The “Science Forum,” a Research and Academic Services Division event, is organized. It allows professors, staff, and students to present valuable science faculty research to the community and public. The project includes various activities, such as academic seminars, practical workshops, and technology training, to enhance research relevance and global advancement.

งานวิจัยทางด้าน ENVIRONMENT & SUSTAINABILITY ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา ปาลิยะวุฒิ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัมพร วิเวกแว่ว ภาควิชาชีววิทยา เป็นผู้ดำเนินการ

งานวิจัยทางด้าน ENVIRONMENT & SUSTAINABILITY ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา ปาลิยะวุฒิ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัมพร วิเวกแว่ว ภาควิชาชีววิทยา เป็นผู้ดำเนินการ อาจารย์เคยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ กิจกรรมนี้ ทางงานวิจัยและบริการวิชาการ จะนำเสนอประวัติ ผลงาน และความเชี่ยวชาญของคณาจารย์ในคณะฯ ทุก ๆ 2

ประชาสัมพันธ์ งานวิจัยและบริการวิชาการ ขอเชิญชวนผู้สนใจทุกท่านเข้าร่วมการประชุมวิชาการประจำปี 2567 “Sci Forum 2024”

ประชาสัมพันธ์ งานวิจัยและบริการวิชาการ ขอเชิญชวนผู้สนใจทุกท่านเข้าร่วมการประชุมวิชาการประจำปี 2567 “Sci Forum 2024” ระหว่างวันที่ 20-21 พฤษภาคม 2567 ณ อาคารมหามกุฎ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ กำหนดการ วันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม 2567 การบรรยายพิเศษในหัวข้อ ”Bridging Research to Commercialization

ด่วนที่สุด ❗️❗️ งานวิจัยและบริการวิชาการ ขยายเวลาการรับสมัครรางวัลนักวิจัย ประจำปี 2567 จนถึงวันที่ 26 เมษายน 2567

📢 ประชาสัมพันธ์: ด่วนที่สุด ❗️❗️ งานวิจัยและบริการวิชาการ ขยายเวลาการรับสมัครรางวัลนักวิจัย ประจำปี 2567 จนถึงวันที่ 26 เมษายน 2567 . งานวิจัยและบริการวิชาการ เปิดรับสมัคร รางวัลนักวิจัย ประจำปี 2567 จำนวน 3 รางวัล ดังนี้ 1.รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น รางวัลละ 10,000

งานวิจัยทางด้าน ENVIRONMENT & SUSTAINABILITY ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิชฌิกา ศิวายพราหมณ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจริญขวัญ ไกรยา ภาควิชาเคมี เป็นผู้ดำเนินการ

งานวิจัยทางด้าน ENVIRONMENT & SUSTAINABILITY ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิชฌิกา ศิวายพราหมณ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจริญขวัญ ไกรยา ภาควิชาเคมี เป็นผู้ดำเนินการ อาจารย์เคยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ กิจกรรมนี้ ทางงานวิจัยและบริการวิชาการ จะนำเสนอประวัติ ผลงาน และความเชี่ยวชาญของคณาจารย์ในคณะฯ ทุก ๆ 2

ประชาสัมพันธ์ งานวิจัยและบริการวิชาการ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ได้รับการสนับสนุนโครงการส่งเสริมการขอทุนวิจัยต่างประเทศ (Sci-Super Plus) ครั้งที่ 3 ปี 2567 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานวิจัยและบริการวิชาการ ขอแสดงความยินดี กับ ผู้ได้รับการสนับสนุนโครงการส่งเสริมการขอทุนวิจัยต่างประเทศ (Sci-Super Plus) ปี 2567 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . ช่วงระยะเวลาการรับการสนับสนุน วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 – 30 เมษายน 2568 . จำนวน 2 รางวัล ดังนี้ 1.

สรุปผลงานโดดเด่น

ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม และชุมชน

[เที่ยวถ้ำออนไลน์] รู้หรือไม่? ถ้ำคลัง (Klang Cave) จ.กระบี่

บทสัมภาษณ์ผู้ได้รับรางวัล Hitachi Trophy 2022 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ

"ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อแก้ปัญหาน้ำมันปนเปื้อนในทะเล"

         การรั่วไหลของน้ำมันในทะเลเป็นปัญหาสำคัญทางสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดผลเสียต่อระบบนิเวศวิทยาและสังคมในวงกว้าง น้ำมันที่รั่วไหลที่ลอยอยู่บนผิวน้ำส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของสัตว์น้ำ และหากน้ำมันที่รั่วไหลถูกพัดพาด้วยคลื่นและลมเข้าสู่ชายฝั่ง ย่อมทำให้ทัศนียภาพของชายหาด การท่องเที่ยวและภาคเศรษฐกิจได้รับความเสียหาย ตลอดจนส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน และในเดือนมกราคม 2565 ที่ผ่านมา มีข่าวการเหตุการณ์การรั่วไหลของน้ำมันดิบจากท่อขนส่งน้ำมันใต้ทะเล บริเวณทุนผูกเรือน้ำลึก อยู่ห่างจากท่าเรือมาบตาพุดประมาณ 20 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดระยอง 

"เยาวชนผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะวิทยาศาสตร์"

        นางสาวสุขิตา ภูชะธง นิสิตชั้นปีที่ 3 ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ภาพที่ 1) ได้รับรางวัล จำนวน 4 รางวัล ดังนี้

"สารกระจายคราบน้ำมันจากสารลดแรงตึงผิวชีวภาพ"

           การรั่วไหลของน้ำมันดิบเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ส่งผลให้น้ำมันนับแสนๆ ลิตร ลอยขึ้นมาบริเวณพื้นผิวน้ำทะเล  ล่าสุดในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2565 มีเหตุการณ์การรั่วไหลของน้ำมันดิบบริเวณใต้ชายฝั่ง ที่ท่าเรือมาบตาพุด จังหวัดระยอง ทำให้เกิดการปนเปื้อนของน้ำมันตามแนวชายหาดและทะเลชายฝั่ง บริเวณหาดแม่รำพึงและเกาะเสม็ด

"หนังสือการเพาะเลี้ยงกบนา"

        หนังสือการเพาะเลี้ยงกบนา (ภาพที่ 1) เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเลี้ยงกบนาในประเทศไทย สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกบนา การเลี้ยง การทำบ่อ การให้อาหาร การเกิดโรคและการรักษา การตลาดและเมนูอาหารจากที่ต่าง ๆ และนอกจากนั้นยังได้สอดแทรกประสบการณ์จากผู้เลี้ยงจริงมาเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่กำลังเลี้ยงหรือผู้เลี้ยงมือใหม่ ภายในหนังสือมีการรวบรวมเอกสาร ข้อมูลจากสื่อออนไลน์ และข้อมูลจากการศึกษาในภาคสนาม

"การวิเคราะห์เครือข่ายทางชีววิทยา – เพื่อนำไปสู่การค้นหายีนและยาที่สำคัญในการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด 19 ที่มีอาการรุนแรง"

"บทสัมภาษณ์ รางวัลชนะเลิศ Hitachi Trophy Grand Champion 2023 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ"

"บทสัมภาษณ์ ผู้ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 Hitachi Trophy 2023 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ"

"บทสัมภาษณ์ ผู้ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 Hitachi Trophy 2023 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ"

"บทสัมภาษณ์ ศ.ดร.สุชนา ชวนิชย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับรางวัล ASEAN Biodiversity Heroes Award ปี 2022 จากศูนย์อาเซียนว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ"

"บทสัมภาษณ์ รางวัลงานวิจัยระดับดี จากสำนักวิจัยแห่งชาติ โดย ศาสตราจารย์ ดร.นิศานาถ ไตรผล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ"

"REduce with BMW โดย ทีม IN DEEP SHIRT โปรเจ็กต์"

       นางสาวธีตามาส ปรักมาศ เล่าว่า เริ่มแรกในขั้นตอนของการสมัครเข้าร่วมการแข่งขัน จะต้องเสนอแนวคิดโปรเจคที่จะทำไปพร้อมด้วย แต่ติดปัญหาตรงที่เหลือเวลาอีกแค่วันเดียวเท่านั้น แต่ด้วยความที่อยากลองทำอะไรใหม่ๆหลังจากไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมอะไรเลยในช่วงที่โควิดที่ผ่านมา จึงได้จัดตั้งทีมกับเพื่อน คือ นางสาว ฉัตรนรี ชำปฏิ แล้วพยายามหาไอเดียร่วมกัน จนสุดท้ายกลับมามองอะไรรอบๆตัว หนึ่งในปัจจัยสี่ที่ทุกคนต้องใช้ทุกวัน นั้นคือ เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม

"Film Protextor: ผลิตภัณฑ์เคลือบผิวแบบลอกออกได้จากยางพารา"

          งานก่อสร้างประกอบด้วยงาน 2 ส่วนใหญ่ คือ งานโครงสร้าง และงานทางสถาปัตยกรรม เมื่อโครงสร้างอาคารแล้วเสร็จไปประมาณ 50% จะเริ่มมีการตกแต่งภายใน เช่น การทาสี การเดินระบบประปา-ไฟฟ้า การติดตั้งกระจกหรือกระเบื้องในห้องต่าง ๆ แต่การทำงานก่อสร้างประกอบด้วยผู้รับเหมาหลายทีม ทำให้วัสดุที่ได้ติดตั้งไปแล้วอาจเกิดความเสียหายในระหว่างการก่อสร้างจากสี สะเก็ดปูน และสะเก็ดไฟจากการเจียหรือเชื่อมโลหะ

"แบบจำลองหม้อไอน้ำที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล เพื่อการประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม"

        ในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของประชากรโลกส่งผลต่อความต้องการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานในการอุปโภคบริโภค อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรหลักที่ถูกใช้เป็นแหล่งพลังงานสำคัญของโลก คือ เชื้อเพลิงฟอสซิล (fossil fuel) ซึ่งเป็นทรัพยากรสิ้นเปลืองที่ใช้แล้วหมดไป ดังนั้นเพื่อป้องกันปัญหาการขาดแคลนพลังงาน การศึกษา วิจัยและพัฒนาเพื่อหาแหล่งพลังงานทดแทน หรือการนำองค์ความรู้ทั้งในเชิงวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าสูงสุดจึงเป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญ

“สาระวิทยาศาสตร์จาก FameLab Thailand 2022”

        อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มีความสำคัญต่อทุกคน อาหารแบ่งออกได้หลากหลายประเภท อาทิ อาหารคาว และ อาหารหวาน อาหารทุกชนิดมีประโยชน์ เป็นแหล่งพลังงานหลักของร่างกาย ช่วยรักษาสมดุลของระบบสรีรวิทยาของร่างกาย ในการเลือกรับประทานอาหารนอกจากผู้บริโภคจะให้ความสำคัญกับคุณค่าทางโภชนาการแล้ว รสชาติและราคาก็มีส่วนสำคัญในการเลือกซื้อด้วย ทั้งนี้ขนมหวาน (sweet) เป็นอาหารที่ทานหลังอาหารมื้อหลัก มีหลายประเภท ส่วนใหญ่มักทำมาจากแป้ง หรือมีส่วนผสมของไขมัน หากรับประทานมากเกินไปก็มักจะเกิดผลเสียเช่นกัน

“ยาต้านไวรัสโรคไข้เลือดออก จากสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ”

       โรคไข้เลือดออก (dengue fever) เป็นโรคเขตร้อนที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) ซึ่งมียุงเป็นพาหะนำโรค ในปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกกว่า 20,000 คนต่อปี อย่างไรก็ตาม ยังไม่มียาต้านเชื้อไวรัสเดงกีที่ใช้รักษาโรคไข้เลือดออกได้โดยตรง และวัคซีนที่ใช้กันอยู่นั้นยังมีข้อจำกัดในหลายด้าน ดังนั้นการรักษาจึงเป็นไปตามอาการเพื่อประคับประคองเพียงเท่านั้น ในบางกรณี โรคอาจพัฒนาไปเป็นไข้เลือดออกรุนแรงซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนรุนแรงและอาจทำให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นการพัฒนายาต้านเชื้อไวรัสเดงกีชนิดใหม่จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

"งานวิจัยพื้นฐานระบบภูมิคุ้มกันของกุ้ง นำไปสู่ผลิตภัณฑ์ยกระดับการเลี้ยงกุ้งภาคอุตสาหกรรม"

        กุ้งกุลาดำ (Tiger prawn; ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus monodon) และกุ้งขาววานาไม  (Pacific White shrimp; ชื่อวิทยาศาสตร์: Litopenaeus vannamei)   เป็นสัตว์น้ำที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้หลักให้แก่เกษตรกรในประเทศไทย เนื่องจากได้รับความนิยมในการบริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลผลิตกุ้งส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการเพาะเลี้ยงทำให้มีการผลิตกุ้งเพียงพอต่อความต้องการบริโภค ในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยผลิตกุ้งได้มากถึง 4.3 แสนตัน  โดยเป็นกุ้งที่ได้จากการเพาะเลี้ยง 3.96 แสนตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 92

"ประโยชน์จากผึ้ง สู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ"

        ผึ้งมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการผสมเกสรของพืชพันธุ์ต่าง ๆ มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อเศรษฐกิจทางการเกษตร ส่วนผลิตภัณฑ์ผึ้งยังถูกนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านอาหาร ยาและเครื่องสำอางอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะน้ำผึ้ง เกสรผึ้ง พรอพอลิส ไขผึ้ง พิษผึ้งและนมผึ้ง มีบันทึกการใช้ประโยชน์ไว้อย่างยาวนานในอียิปต์ กรีกและจีน ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายให้ใช้เป็นส่วนประกอบในยาพื้นเมืองหรือยาแผนโบราณและถูกนำไปประยุกต์ใช้ทางด้านการแพทย์ทางเลือกได้อีกด้วย

"เสาจราจรล้มลุก ผลิตภัณฑ์แปรรูปมูลค่าสูงจากยางพารา"

ประเทศไทยเป็นหนึ่งสามประเทศหลักในอาเซียน (ร่วมกับอินโดนีเซีย และมาเลเซีย) ที่เป็นแหล่งผลิตน้ำยางธรรมชาติสูงถึงประมาณ 75% ของโลก โดยประเทศไทยเป็นผู้นำที่มีปริมาณการผลิตสูงสุด คิดเป็นปีละ 4.5 ล้านตัน หรือ 37.5% ของโลก ในขณะที่มีการใช้ยางที่ผลิตภายในประเทศประมาณ 0.6 ล้านตัน หรือ 13% ของที่ผลิต ปัจจุบันยางพาราที่ผลิตได้ถูกนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น การผลิตยางล้อ ถุงมือยาง อุปกรณ์ทางการแพทย์ บางกันกระแทก เป็นต้น 

สัมนาวิชาการ

กิจกรรมที่เราจัดเป็นประจำ

I am text block. Click edit button to change this text. Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit. Ut elit tellus, luctus nec ullamcorper mattis, pulvinar dapibus leo.

กิจกรรมของหน่วยฯ

ไม่พลาดทุกการความเคลื่อนไหว
ทางลัดเพื่อเข้าถึง

ข้อมูลและบริการของเรา

ทุนสนับสนุน

ขอรับการสนับสนุนงานวิจัย ค้นหาทุนสนับสนุนงานวิจัยของท่าน

วิเคราะห์และทดสอบ

ดูเงื่อนไขการให้บริการ/อัตราค่าบริการวิเคราะห์และทดสอบของเรา

ฐานข้อมูลงานวิจัย

สืบค้นข้อมูล ผลงานตีพิมพ์ งานวิจัย บุคคลกร และรางวัลวิจัย

สัญญา MoU

ศึกษาระเบียบขั้นตอนการทำ MoU กับ หน่วยงานของคณะฯ

เอกสารและคู่มือ

เลือกดูเอกสารคู่มือหรือ แบบฟอร์ม เพื่อดาวน์โหลดไปใช้งาน

Sci Forum 2020

The Hitachi Trophy

งานวิจัยและบริการวิชาการ ขอเชิญชวนนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ร่วมแข่งขันการนำเสนอผลงาน Senior Project ในรูปแบบคลิปวิดีโอภาษาไทย ชิงเงินรางวัลสูงสุด 10,000 บาท

เพียงส่งคลิป Pitching 3 นาที

นิสิตที่สนใจสามารถส่งผลงานในรูปแบบของ Youtube VDO ได้ภายใน 15 พฤษภาคม 2563